วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

คณะ 
      กาพย์ฉบัง ๑๖ หนึ่งบทมี ๓ วรรค

  พยางค์
      พยางค์หรือคำ วรรคที่ ๑ มี ๖ คำ วรรคที่ ๒ มี ๔ คำ วรรคที่ ๓ มี ๖ คำ รวมทั้งหมดมี ๑๖ คำ
จึงเรียกว่า กาพย์ฉบัง ๑๖

  สัมผัส
๑. คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรค ๒
๒. คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ของบทต่อไป 
 ( เรียกว่า สัมผัสระหว่างบท )
 การอ่านกาพย์ฉบัง ๑๖
       การอ่านกาพย์ฉบัง ๑๖ จะต้องแบ่งจังหวะการอ่านคำในแต่ละวรรคดังนี้
       หนึ่งบทมี ๓ วรรควรรคแรกมี ๖ คำ วรรคที่ ๒ มี ๔ คำ วรรคที่ ๓ มี ๖ คำ การอ่านจึงเว้นจังหวะ
ทุกๆ ๒ คำ



ตัวอย่าง

             "มะม่วง/พวงพลอง/ช้องนาง หล่นเกลื่อน/เถื่อนทาง

กินพลาง/เดินพลาง/หว่างเนิน                 เห็นกวาง/ย่างเยื้อง/ชำเลืองเดิน

เหมือนอย่าง/นางเชิญ                             พระแสง/สำอาง/ข้างเคียง
         
เขาสูง/ฝูงหงส์/ลงเรียง                         เริงร้อง/ซ้องเสียง

สำเนียง/น่าฟัง/วังเวง                         กลางไพร/ไก่ขัน/บรรเลง

ฟังเสียง/เพียงเพลง                                 ซอเจ้ง/จำเรียง/เวียงวัง"



 à¸œà¸¥à¸à¸²à¸£à¸„้นหารูปภาพสำหรับ ฉันทลักษณ์ กาพย์ฉบัง16

0 ความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

นางสาวสุนีรัตน์ ไกรทอง

นางสาวสุนีรัตน์ ไกรทอง

ร้านรอยลายยอ (ROI LAI YOR)

ร้านรอยลายยอ (ROI LAI YOR)
ร้านรอยลายยอ (ROI LAI YOR)

สถานที่

ชนิดพันธ์ไม้

ขับเคลื่อนโดย Blogger.

Facebook

Facebook สุนีรัตน์ ฯ.

จำนวนการดูหน้าเว็บรวม

ค้นหาบล็อกนี้

About Me

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดำริบางประการเกี่ยวกับ การอนุรักษ์พันธุกรรมพืช "การสอนและอบรมให้เด็กมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์พืชพรรณนั้น ควร ใช้วิธีการปลูกฝังให้เด็กเห็นความงดงาม ความน่าสนใจ และเกิดความปิติที่จะทำการ ศึกษาและอนุรักษ์พืชพรรณต่อไป การใช้วิธีการสอนการอบรมที่ให้เกิดความรู้สึกกลัวว่า หากไม่อนุรักษ์แล้วจะเกิดผลเสีย เกิดอันตรายแก่ตนเอง จะทำให้เด็กเกิดความเครียด ซึ่งจะเป็นผลเสียแก่ประเทศในระยะยาว"

Popular Posts